บทความ

ระบบแจ้งเหตุไฟไหม้

Fire Alarm Systems หรือระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ คือ ระบบที่มีไว้สำหรับแจ้งเตือนเมื่อมีเหตุไฟไหม้ โดยจะใช้อุปกรณ์ตรวจจับ ชนิดต่างกันออกไปตามความเหมาะสม เช่น Smoke Detector, Heat Detector, Manual Pull Station เป็นต้น และจะส่งสัญญาณเสียง แสง  ซึ่งจะทำให้เราสามารถรับรู้ และ แก้ไขไม่ให้ไฟไหม้นั้นลุกลามจนไม่สามารถควบคุมได้

ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ มีการออกแบบติดตั้งอยู่ด้วยกัน 2 ระบบ คือ

1. ระบบการแจ้งเหตุเป็นโซน (Conventional System)

Conventional System

 

2. ระบบการแจ้งเหตุเป็นจุด (Addressable System)

Addressable System

 

 

องค์ประกอบของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm System)

1.ตู้ควบคุม ( Control Panel )

1.1 ชุดจ่ายไฟ ( Power Supply Unit )

1.2 ชุดสำรองไฟ ( Battery Unit )

2.  อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ ( Initiating Devices )

3. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ ( Notification Appliance Devices,NAC )

4. อุปกรณ์แยกแจ้งสัญญาณ ( Graphic Annunciator )

5. อุปกรณ์เสริม( Auxiliary Devices )

ระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยสารสะอาด Novec 1230 หรือ FK-5-1-12 ซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐาน UL/FM โดยเป็นระบบป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ แบบ Total Flooding โดยกำหนดให้ความเข้มข้นของสาร 4.7% – 10% ต่อปริมาตร ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เวลาในการฉีดก๊าซให้ได้ความเข้มข้นดังกล่าว ภายในระยะเวลา 10 วินาที ที่ไม่ทำความเสียหายต่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์, อิเลคทรอนิกส์ และ ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ เหมาะสำหรับห้องดังต่อไปนี้ เช่น Server Room, Data Center , MDB Room , ห้องไฟฟ้า , ห้องควบคม , ห้อง UPS , ห้องเก็บสารเคมี , ห้องเก็บแบตเตอรี่ , ห้องคอมพิวเตอร์ , ห้องเก็บเอกสารสำคัญ พิพิธภัณฑ์ และ ห้องอื่นๆ

*สารดับเพลิงไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์

*เป็นระบบสารสะอาดดับเพลิง (Clean Agent Fire Extinguishing System)

*เป็นก๊าซซึ่ง ไม่นำไฟฟ้า, ไม่มีสี, ไม่มีกลิ่น ไม่ทิ้งสิ่งตกค้าง และไม่ทำความเสียหายต่ออุปกรณ์ต่างๆ      หลังจากการฉีดสารเพื่อดับเพลิง

*เหมาะสำหรับดับเพลิง เชื้อเพลิงประเภท Class A, Class B และ Class C

*เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Environment Friendly)

ความสามารถในการยับยั้งการเพลิงไหม้

Sprinkler ลดปริมาณความร้อนที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงลง

Co2,N2 ลดปริมาณของก๊าซออกซิเจนในบริเวณ ที่เกิด เพลิงไหม้

HFC227ea หยุดปฏิกิริยาลูกโซ่ในการเกิดเพลิงไหม้

การทำงานของระบบ

การทำงานของระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยสารสะอาดดับเพลิง Novec 1230 จะทำงานในลักษณะการฉีดสารให้กระจายครอบคลุมทั้งห้อง ระบบสามารถทำงานได้ทั้งแบบ Automatic และ Manual ได้ดังนี้

  1. แบบ Automatic

โดยใช้ Detector ติดตั้งแบบ Cross Zone เมื่อ  Detector ตรวจจับควันที่เกิดจากเพลิงไหม้ ได้และส่งสัญญาณไปยังตู้ Control ขั้นตอนการทำงานของระบบจะเป็นไปดังต่อไปนี้

    1. Detector ตัวแรกทำงาน (Fist Zone) หรือ Smoke Detector โซนแรกทำงาน

กระดิ่ง (Bell)  ดังเป็นจังหวะ(Pulse)

ตัดการทำงานของแอร์

    1. Detector ตัวที่สองทำงาน (Cross Zone) หรือ Smoke Detector โซนที่สองทำงาน

กระดิ่ง (Bell) หยุดการทำงาน

ฮอร์น  (Horn)  ดังเป็นจังหวะ(Pulse)

    1. ชุดหน่วงเวลา (Delay Timer) เริ่มนับถอยหลัง 60-0 ก่อนที่ตู้ Control จะสั่งให้      Electric Control Head ทำงาน

เมื่อนับเวลาถอยหลังถึง 0  ตู้ Control จะสั่งให้     Electric Control Head ทำงาน จึงทำให้สารออก     จากถังบรรจุทันที

กระดิ่ง (Bell) และฮอร์น (Horn) ดังยาวต่อเนื่อง

    1. เมื่อต้องการยกเลิกหรือขยายเวลาในการนับถอยหลัง

ยกเลิกการทำงานได้โดยกด รีเซ็ต  ที่ตู้ Control

การขยายเวลา หรือหยุดเวลาชั่วคราว ทำได้โดยการกด Abort เวลาที่กำลังนับถอยหลังจะหยุดนับทันทีและกลับไปยังเวลาตั้งต้น (60 ) เมื่อเลิกกด Abort  เวลาจะเริ่มนับถอยหลังใหม่

  1. แบบ Manual ทำได้ 2 ลักษณะคือ

2.1    โดยทำการดึง Manual Station จะทำให้ เสียงกระดิ่ง (Bell) และฮอร์น และไฟกระพริบ (Strobe) ดังยาว(Steady)   สารจะถูกฉีดออกมาดับเพลิงที่เกิดขึ้นสัญญาณจากตู้ควบคุมจะสั่งให้วาล์วเปิดให้สารออกจากถังบรรจุทันที

2.2      โดยทำการดึงสลักกลไกซึ่งอยู่กับชุด Electric Control Head ซึ่งติดตั้งอยู่บนหัวถังบรรจุสาร Novec จะทำให้สารถูกฉีดออกมาทันที และอุปกรณ์ Pressure switch จะทำงานแล้วจะส่งสัญญาณไปที่ส่วนควบคุม Control Panel  ทำให้เสียงกระดิ่ง (Bell) ฮอร์น(Horn) ไฟกระพริบและ ดังยาว

Nitrogen,ไนโตรเจน,N2,ดับเพลิง

 


ไนโตรเจนเป็นสารสะอาดดับเพลิงชนิดหนึ่งในกลุ่มของแก๊สเฉื่อยซึ่งถูกจัดอยู่ในกลุ่มของสารสะอาดดับเพลิง ที่มีความสามารถในการดับเพลิง ด้วยลดออกซิเจนภายในพื้นที่ป้องกัน โดยถูกนำมาใช้ดับเพลิงแทนสารดับเพลิงฮาล่อน 1301 ตามมาตรฐาน NFPA 2001 Standard on Clean Agent Fire Extinguishing Systems
แก๊สเฉื่อยดับไฟด้วยวิธีกำจัดออกซิเจน ปริมาณออกซิเจนในบรรยากาศ ทำให้การลุกไหม้เกิดขึ้นและดำเนินต่อ ไปได้อยู่ที่ 21% หากปริมาณออกซิเจนต่ำกว่า 15% จะทำให้การลุกไหม้ยุติลง โดยทั่วไป แก๊สเฉื่อยที่ใช้ดับไฟจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในบริเวณนั้นเหลือต่ำกว่า 15% โดยทั่วไปจะมีปริมาณออกซิเจนเหลืออยู่ประมาณ 10-12.5% ขึ้นอยู่ค่าความเข้มข้นที่ใช้ในการออกแบบ แต่จะต้องไม่ต่ำกว่า 10% เพราะจะทำให้เป็นอันตรายร้ายแรงต่อคนที่อยู่ในพื้นที่ใช้สาร (หนีออกไปไม่ทันหรือเป็นผู้ปฏิบัติงาน เหมาะสำหรับห้องดังต่อไปนี้ เช่น Server Room, Data Center , MDB Room , ห้องไฟฟ้า , ห้องควบคม , ห้อง UPS , ห้องเก็บสารเคมี , ห้องเก็บแบตเตอรี่ , ห้องคอมพิวเตอร์ , ห้องเก็บเอกสารสำคัญ พิพิธภัณฑ์ และ ห้องอื่นๆ
•N2 ก๊าซจากธรรมชาติ Clean Agent Fire Extinguishing Systemสามารถใช้ดับเพลิงได้
•ไม่นำไฟฟ้า, ไม่มีสี, ไม่มีกลิ่น และไม่ทำความเสียหายต่ออุปกรณ์ต่างๆ หลังจากการฉีดสารเพื่อดับเพลิง
•ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ความดันสูง 58Bar(850psi)
•มีอุปกรณ์ควบคุมแรงดันขณะฉีดอย่างต่อเนื่องคงที่ 40-60 Bar ไม่เกิดอันตรายระหว่างฉีดกาซดับเพลิงออกมา
•สามารถติดตั้งร่วมกับ Selector Valve ได้ ซึ่งทำให้สามารถติดตั้งชุดถังหนึ่งชุดเพื่อป้องกันหลายๆ พื้นที่ได้
•สามารถทำงานได้ทั้งแบบ Automatic and Manual operate
•ผลิตภัณฑ์ได้รับมาตรฐานสากล เช่น UL Listed, FM Approves, Vds
•เหมาะสำหรับดับเพลิง เชื้อเพลิงประเภท Class A, Class B และ Class C
•เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Environment Friendly)
•Ozone Depletion Potential =  0
•Global Warming Potential =  0
ความสามารถในการยับยั้งการเพลิงไหม้
Sprinkler ลดปริมาณความร้อนที่มีอยู่ในเชื้อเพลิงลง
N2 ลดปริมาณของก๊าซออกซิเจนในบริเวณ ที่เกิด เพลิงไหม้
Fk-1-5-12 หยุดปฏิกิริยาลูกโซ่ในการเกิดเพลิงไหม้

 

การทำงานของระบบ

การทำงานของระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยสารสะอาดดับเพลิง N2 จะทำงานในลักษณะการฉีดสารให้กระจายครอบคลุมทั้งห้อง ระบบสามารถทำงานได้ทั้งแบบ Automatic และ Manual ได้ดังนี้
1.    แบบ Automatic
โดยใช้ Detector ติดตั้งแบบ Cross Zone เมื่อ  Detector ตรวจจับควันที่เกิดจากเพลิงไหม้ ได้และส่งสัญญาณไปยังตู้ Control ขั้นตอนการทำงานของระบบจะเป็นไปดังต่อไปนี้
1.1    Detector ตัวแรกทำงาน (Fist Zone) หรือ Smoke Detector โซนแรกทำงาน
กระดิ่ง (Bell)  ดังเป็นจังหวะ(Pulse)
ตัดการทำงานของแอร์
1.2       Detector ตัวที่สองทำงาน (Cross Zone) หรือ Smoke Detector โซนที่สองทำงาน
กระดิ่ง (Bell) หยุดการทำงาน
ฮอร์น  (Horn)  ดังเป็นจังหวะ(Pulse)
1.3    ชุดหน่วงเวลา (Delay Timer) เริ่มนับถอยหลัง 60-0 ก่อนที่ตู้ Control จะสั่งให้      Electric Control Head ทำงาน
เมื่อนับเวลาถอยหลังถึง 0  ตู้ Control จะสั่งให้     Electric Control Head ทำงาน จึงทำให้สารออก     จากถังบรรจุทันที
กระดิ่ง (Bell) และฮอร์น (Horn) ดังยาวต่อเนื่อง
1.4    เมื่อต้องการยกเลิกหรือขยายเวลาในการนับถอยหลัง
ยกเลิกการทำงานได้โดยกด รีเซ็ต  ที่ตู้ Control
การขยายเวลา หรือหยุดเวลาชั่วคราว ทำได้โดยการกด Abort เวลาที่กำลังนับถอยหลังจะหยุดนับทันทีและกลับไปยังเวลาตั้งต้น (60 ) เมื่อเลิกกด Abort  เวลาจะเริ่มนับถอยหลังใหม่
2.    แบบ Manual ทำได้ 2 ลักษณะคือ
2.1    โดยทำการดึง Manual Station จะทำให้ เสียงกระดิ่ง (Bell) และฮอร์น และไฟกระพริบ (Strobe) ดังยาว(Steady)   สารจะถูกฉีดออกมาดับเพลิงที่เกิดขึ้นสัญญาณจากตู้ควบคุมจะสั่งให้วาล์วเปิดให้สารออกจากถังบรรจุทันที
2.2      โดยทำการดึงสลักกลไกซึ่งอยู่กับชุด Electric Control Head ซึ่งติดตั้งอยู่บนหัวถังบรรจุสาร IG 100 จะทำให้สารถูกฉีดออกมาทันที และอุปกรณ์ Pressure switch จะทำงานแล้วจะส่งสัญญาณไปที่ส่วนควบคุม Control Panel  ทำให้เสียงกระดิ่ง (Bell) ฮอร์น(Horn) ไฟกระพริบและ ดังยาว

#รับติดตั้งระบบแจ้งเตือนไฟไหม้,#FireAlarm,#รับติดตั้งสปริงเกอร์, #Sprinkler,#ดับเพลิงท่อแห้ง,#ดับเพลิงท่อเปียก,#ติดตั้งสปริงเกอร์ท่อเปียก,#ติดตั้งสปริงเกอร์ท่อแห้ง,#ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ,#รับติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติ,#ติดตั้งดับเพลิงอัตโนมัติ,#ดับเพลิงด้วยสารสะอาด,#ติดตั้งระบบดับเพลิงด้วยสารสะอาด#ระบบดับเพลิงด้วยสารสะอาด,#ระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยสารสะอาด,#ระบบดับเพลิงHFC227ea,#ระบบดับเพลิงFK-5-1-12,#ระบบดับเพลิงIG100,#ระบบดับเพลิงN2,#ระบบดับเพลิงFm200,#ระบบดับเพลิงNovec1230,#ระบบดับเพลิงN2,#ระบบดับเพลิงCO2,#HFC227ea,#FK-5-1-12, #IG100,#N2,#fm200,#Novec1230,#CO2,#ติดตั้งระบบดับเพลิงด้วยสารสะอาด,#ติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติด้วยสารสะอาด,#ติดตั้งระบบดับเพลิงHFC227ea,#ติดตั้งระบบดับเพลิงFK-5-1-12,#ติดตั้งระบบดับเพลิงIG100,#ติดตั้งระบบดับเพลิงN2,#ติดตั้งระบบดับเพลิงFm200,#ติดตั้งระบบดับเพลิงNovec1230,#ติดตั้งระบบดับเพลิงN2,#ติดตั้งระบบดับเพลิงCO2,#ติดตั้งHFC227ea,#ติดตั้งFK-5-1-12,#ติดตั้งIG100,#ติดตั้งIG100,#ติดตั้งN2,#ติดตั้งfm200, #ติดตั้งNovec1230,#ติดตั้งCO2,#ปั๊มน้ำดับเพลิง,#รับติดตั้งปั๊มน้ำดับเพลิง,#ปั้มดับเพลิง,#ติดตั้งปั๊มดับเพลิง,#Firepump,#รับติดตั้งFirepump,#แท้งก์เก็บน้ำดับเพลิง,#รับติดตั้งโฟมดับเพลิง,#โฟมดับเพลิงคือ,#ระบบดับเพลิงที่เก็บสารเคมี,#ระบบดับเพลิงด้วยโฟม,#ระบบโฟมดับเพลิง,#โฟมดับเพลิง,#ดับเพลิงที่เก็บสารเคมี,#ติดตั้งโฟมดับเพลิง,#ติดตั้งระบบโฟมดับเพลิง,#ก่อสร้างแท้งก์เก็บน้ำดับเพลิง,#แท้งก์สำรองน้ำดับเพลิง,#ก่อสร้างห้องปั๊มดับเพลิง,#ก่อสร้างห้องดับเพลิง,#ก่อสร้างอาคารดับเพลิง,#ระบบดับเพลิงสถานีแก๊สLpg,#ติดตั้งดับเพลิงที่เก็บแก๊ส,#Fm200คือ,#Novec1230คือ,#HFC227eaคือ,#FK-5-1-12คือ,#IG100คือ,#N2คือ,#co2คือ,#ติดตั้งตัวจับควัน,#ติดตั้งตัวจับความร้อน,#ตัวจับควัน,#ตัวจับความร้อน,#SmokeDetector,#HeatDetector,#กระดิ่งเตือนไฟไหม้,#ติดตั้งกระดิ่งแจ้งเตือนไฟไหม้,#ตู้ควบคุมไฟอลาม,#ระบบอัคคีภัย,#ตรวจสอบประจำปีระบบดับเพลิง,#ตรวจสอบระบบระบบแจ้งไฟไหม้,#ติดตั้งท่อดับเพลิง,#ติดตั้งตู้ดับเพลิง,#หัวสปริงเกอร์ดับเพลิง,#วาล์วดับเพลิง,#อุปกรณ์ระบบดับเพลิง,#ตัวกดแจ้งไฟไหม้,#Manual,#manualcallpoint,#Manualpull station,#FireAlarmControl,#ตรวจสอบประจำปีFm200,#ตรวจสอบประจำปีNovec1230,#ตรวจสอบประจำปีIG100,#ตรวจสอบประจำปีN2,#ตรวจสอบประจำปีco2,#ตรวจสอบประจำปีHFC227ea,#ตรวจสอบประจำปีFK-5-1-12,#รับตรวจสอบระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

ตรวจระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตรวจอะไรบ้าง ?

ส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(Fire Alarm System Component)

1. ชุดจ่ายไฟ (Power Supply)
ชุดจ่ายไฟ เป็นอุปกรณ์แปลงกําลัง ไฟฟ้าของแหล่ง จ่ายไฟมาเป็นกําลังไฟฟ้ากระแสตรง ที่ใช้ปฎิบัติงานของระบบ และจะต้องมีระบบไฟฟ้าสํารอง เพื่อให้ระบบทํางานได้ในขณะที่ไฟปกติดับ

2. แผงควบคุม (Fire Alarm Control Panel)
เป็นส่วนควบคุม และตรวจสอบการทํางานของอุปกรณ์และส่วนต่างๆในระบบทั้งหมด จะประกอบด้วยวงจรตรวจคุมคอยรับสัญญาณ จากอุปกรณ์ เริ่มสัญญาณ, วงจรทดสอบการทำงาน, วงจรป้องกันระบบ, วงจรสัญญาณแจ้งการทำงานในสภาวะปกติ  และภาวะขัดข้อง เช่น สายไฟจากอุปกรณ์ตรวจจับขาด, แบตเตอรี่ตํ่า หรือไฟจ่ายตู้แผงควบคุม โดนตัดขาดเป็นต้น ตู้แผงควบคุม (FCP)จะมีสัญญาณไฟและเสียงแสดงสภาวะ ต่างๆบนหน้าตู้ เช่น

– Fire Lamp : จะติดเมื่อเกิดเพลิงไหม้
– Main Sound Buzzer : จะมีเสียงดังขณะแจ้งเหตุ
1.ชุดจ่ายไฟ
2.แผงควบคุม
3.อุปกรณ์ประกอบ
4.อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ
5.อุปกรณ์แจ้งสัญญาณ
– Zone Lamp : จะติดค้างแสดงโซนที่เกิด Alarm
– Trouble Lamp : แจ้งเหตุขัดข้องต่างๆ
– Control Switch: สําหรับการควบคุม เช่น เปิด/ปิดเสียงที่ตู้ และกระดิ่ง, ทดสอบการทํางานตู้, ทดสอบBattery, Reset ระบบหลังเหตุการณ์เป็นปกติ

3. อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ (Initiating Devices)
เป็นอุปกรณ์ต้นกําเนิดของสัญญาณเตือนอัคคีภัย ซึ่ง แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
3.1 อุปกรณ์เริ่มสัญญาณจากบุคคล (Manual Station) ได้แก่ สถานีแจ้งสัญญาณเตือนอัคคีภัยแบบใช้มือกด
3.2อุปกรณ์เริ่มสัญญาณโดยอัตโนมัติเป็นอุปกรณ์อัตโนมัติ ที่มีปฎิกิริยาไวต่อสภาวะตามระยะต่างๆของการเกิดเพลิงไหม้ ได้แก่ อุปกรณ์ตรวจจับควัน (SmokeDetector) อุปกรณ์ตรวจจับ ความร้อน (HeatDetector) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟ (FlameDetector) อุปกรณ์ตรวจจับ แก๊ส (GasDetector)

4. อุปกรณ์แจ้งสัญญาณด้วยเสียงและแสง (Audible & Visual Signalling Alarm Devices)
หลังจากอุปกรณ์เริ่มสัญญาณทํางานโดยส่ง สัญญาณมายังตู้ควบคุม(FCP) แล้วFCPจึง ส่งสัญญาณออกมาโดยผ่านอุปกรณ์ ได้แก่ กระดิ่ง, ไซเรน, ไฟสัญญาณ เป็นต้น เพื่อให้ผู้อยู่อาศัย, ผู้รับผิดชอบ หรือเจ้าหน้าที่ดับเพลิงได้ทราบว่ามีเหตุเพลิงไหม้เกิดขึ้น

5.อุปกรณ์ประกอบ (Auxiliary Devices)
เป็นอุปกรณ์ที่ทํางานเชื่อมโยงกับระบบอื่นที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมป้องกันและดับเพลิง โดยจะถ่ายทอดสัญญาณระหว่างระบบเตือนอัคคีภับกับระบบอื่น เช่น
5.1 ส่งสัญาณกระตุ้นการทํางานของระบบบังคับลิฟท์ลงชั้นล่าง, การปิดพัดลมในระบบปรับอากาศ, เปิดพัดลมในระบบระบายอากาศ, เปลี่ยนแปลงเพื่อควบคมุ ควันไฟ, การควบคุมเปิดประตูทางออก,
เปิดประตูหนีไฟ, ปิดประตูกันควันไฟ, ควบคุม ระบบกระจายเสียง และการประกาศแจ้งข่าว, เปิดระบบดับเพลิง เป็นต้น
5.2 รับสัญญาณของระบบอื่นมากระตุ้นการทํางานของระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย เช่น จากระบบพ่นน้ำ ปั๊มดับเพลิง ระบบดับเพลิงด้วยสารเคมี อัตโนมัติ เป็นต้น

ที่กล่าวมาข้างต้นนั้นเป็นส่วนประกอบของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ซึ่งเราควรทำการตรวจสอบทั้งหมดเพื่อให้มั่นใจว่าอุปกรณ์ทั้งระบบของเรานั้นจะสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้